DETAILS, FICTION AND ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

Details, Fiction and ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

Details, Fiction and ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา

Blog Article

ความเคลื่อนไหว จดหมายข่าวถึงเพื่อนภาคี

เกี่ยวกับเรา รู้จักทีดีอาร์ไอ เกี่ยวกับเรา

มูลนิธิสร้างเสริมไทย ช่วยดำเนินการในการส่งเสริม และพัฒนาคุณภาพทางการศึกษา ให้แก่เยาวชนไทย โดยเฉพาะในเขตพื้นที่ชนบทที่ด้อยโอกาส และห่างไกล

ณัฐพงศ์ ศิริชนะ อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดนครนายก และอนุกรรมการการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่เพื่อลดความเหลื่อมล้ำ กสศ. กล่าวเสริมว่า การแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาโดยวิธีปกตินั้นมีความยาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการแก้ไขปัญหาด้วยระบบราชการที่ต้องได้รับการสั่งการจากข้างบน ที่เปรียบเสมือนการตัดเสื้อตัวเดียวใช้ทั้งประเทศ ในขณะที่ปัญหาความเหลื่อมล้ำของแต่ละจังหวัดที่พบเจอนั้นมีความแตกต่าง

คุกกี้เพื่อปรับเนื้อหาให้เข้ากับกลุ่มเป้าหมาย

ปัจจุบันมีการรณรงค์ให้ตระหนักถึงสิทธิ และเสรีภาพของเยาวชนในประเทศมากยิ่งขึ้น ทำให้สังคมเรียนรู้ว่าเยาวชนทุกคนควรได้รับสิทธิ และเสรีภาพขั้นพื้นฐานในการที่จะได้รับความรู้ ภาครัฐ และหน่วยงานต่างๆ จึงมีการเข้าไปสนับสนุน และดูแลโรงเรียนที่ขาดแคลนให้สามารถเข้าถึงแหล่งการศึกษาที่มีประสิทธิภาพได้ อย่างไรก็ตาม นักเรียนที่ยังคงมีฐานะยากจนก็ยังถูกจำกัดให้มีตัวเลือกเพียงแค่การเข้าถึงสถาบันการศึกษาของรัฐ เนื่องจากสถานศึกษาของเอกชนยังคงมีอัตราค่าเล่าเรียนที่สูง

ทุนการศึกษา ส่งน้องเรียน สร้างเด็กดี

คู่มือหรือแนวทางการให้บริการสำหรับผู้รับบริการหรือผู้มาติดต่อ

iSEE ฐานข้อมูลเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา

นักเรียนส่วนหนึ่งอาศัยอยู่ในหอพักหรือมูลนิธิ ซึ่งบางแห่งไม่ประสงค์ขอรับเงินช่วยเหลือเด็กยากจน จึงไม่ให้ความร่วมมือในการสอบถามข้อมูลจากนักเรียน เป็นเหตุให้มีเด็กบางกลุ่ม ‘ตกสำรวจ’ จนข้อมูลคลาดเคลื่อนไป

เพราะฉะนั้น ความเหลื่อมล้ำในแต่ละบริบทนั้นมีความแตกต่างกัน ไม่สามารถระบุได้ชัดเจนว่าเกิดจากมิติใดมิติหนึ่งเพียงอย่างเดียว ความเหลื่อมล้ำนั้นสามารถเกิดได้จากทั้งมิติเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ หรือความเหลื่อมล้ำที่เกิดจากมิติวัฒนธรรม ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา หรืออคติเชิงชาติพันธุ์ต่าง ๆ เป็นต้น

โครงการสร้างโอกาสทางการศึกษาสําหรับนักเรียนในพืนที่ห่างไกลเป็นครูรุ่นใหม่เพือพัฒนาคุณภาพโรงเรียนของชุมชน (ครูรัก(ษ์)ถิ่น)

นโยบายการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษา

หากจะกล่าวว่า “มิติทางเศรษฐกิจส่งผลให้เกิดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา หรือทำให้ไม่สามารถเข้าถึงการศึกษาได้อย่างเสมอภาค” คำกล่าวนี้ก็อาจจะไม่ถูกต้องเสมอไป เรายังพบว่ามีเด็กอีกหลายคนที่ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาไม่ได้เกิดจากฐานะทางเศรษฐกิจเพียงอย่างเดียว

Report this page